เหรียญนาวารัตน์หลวงพ่อน้อยวัดศีรษะทอง ปี 2505
วันเสาร์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2556
พระรูปหล่อโบราณ หลวงพ่อพรหม วัดช่องแค ปี2512
พระรูปเหมือนหล่อโบราณทรงชลูด หลวงพ่อพรหมวัดช่องแค ปี 2512
พระหลวงพ่อพรหม วัดช่องแค พิมพ์อื่นๆ
พระหลวงพ่อพรหม วัดช่องแค พิมพ์อื่นๆ
พระปิดตา หลวงปู่นาค วัดห้วยจระเข้ พิมพ์หูกระต่าย พิมพ์สะดือจุ่นเนื้อเมฆพัด
พระปิดตา หลวงปู่นาค วัดห้วยจระเข้ พิมพ์หูกระต่าย พิมพ์สะดือจุ่น เนื้อเมฆพัด นครปฐม
พิมพ์หูกระต่าย
พิมพ์สะดือจุ่น
พระปิดตาเมฆพัดของหลวงปู่นาควัดห้วยจระเข้
จังหวัดนครปฐม พระพุทธคุณเรืองโรจนฤทธิ์ด้วยคงกระพันมหาอุด มหาโชค มหาลาภ
ซึ่งกล่าวกันว่าผู้ใดพกพาบูชาพระปิดตาหลวงปู่นาคจะรอดพ้นภัยพิบัติไม่มีอันตรายกล้ำกราย
เปี่ยมไปด้วยเมตตามหานิยม พระครูปาจิณทิศบริหารหรือหลวงปู่นาค “โชติโก” แห่งวัดห้วยจระเข้
เป็นพระภิกษุในสมัยรัชกาลที่ 5 ทรงโปรดเกล้าฯแต่งตั้งพระเถระทำหน้าที่พิทักษ์องค์พระปฐมเจดีย์ทั้ง
4 ทิศ ซึ่งหลวงปู่นาคได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตร ประจำทิศที่ “พระครูปาจิณทิศบริหาร”
ต่อมาท่านได้สร้างวัดใหม่ขึ้นที่ริมลำห้วยแยกจากคลองเจดีย์พุทธบูชา
ตำบลพระปฐมเจดีย์เมื่อประมาณปีพ.ศ. 2443 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมานามว่า “วัดนาคโชติการาม”หรือชาวบ้านเรียกกันว่า
“วัดห้วยจระเข้”
การสร้างพระปิดตาของหลวงปู่นาคนั้น
ช่วงแรกๆประมาณพ.ศ.2435 ยังไม่มีแบบพิมพ์แน่นอน ใช้วิธีปั้นหุ่นพิมพ์ทีละองค์แล้วเทหล่อออกมาเป็นพระปิดตาลอยองค์
มีทั้งเนื้อเมฆพัด สัมฤทธิ์ ตะกั่ว ชินเขียว ต่อมาภายหลังจึงปรากฏพิมพ์มาตรฐานที่ได้รับการยอมรับเล่นหาเช่าบูชาในระดับสูง
แบ่งเป็น 2 พิมพ์
1. พิมพ์หูกระต่าย (ท้องแฟบ) เนื้อเมฆพัดและ
2. พิมพ์สะดือจุ่น (ท้องป่อง)
พระปิดตาเมฆพัดหลวงปู่นาคถือว่าเป็นหนึ่งในเบญจภาคีพระปิดตาเนื้อโลหะมหานิยม
ซึ่งหาชมได้ยาก1. พิมพ์หูกระต่าย (ท้องแฟบ) เนื้อเมฆพัดและ
2. พิมพ์สะดือจุ่น (ท้องป่อง)
วันศุกร์ที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2556
เหรียญหล่อพระคันธราช พิมพ์กลีบจำปา วัดพระปฐมเจดีย์ ปี 2472
เหรียญหล่อพระคันธราช พิมพ์กลีบจำปา วัดพระปฐมเจดีย์ ปี 2472
พระหล่อคันธราชกลีบจำปา เนื้อทองผสม ปี 2472 เจ้าคุณโชติ สร้าง พิธีใหญ่
เหรียญหล่อ พระคันธราช เนื้อทองผสม กลีบจำปา จังหวัดนครปฐม จัดสร้างเมื่อครั้งปี พศ.2472 จัดสร้างโดยท่านเจ้าคุณโชติ หรือพระเทพสุธีหรือพระธรรมวโรดม (โชติ) อดีตเจ้าอาวาสวัดพระปฐมเจดีย์ ปี 2465 ถึง ปี 2497 พระเครื่องคันธาระ ถือได้ว่าเป็นเพชรน้ำเอกพระเครื่องเมืองนครปฐมอย่างแท้จริง ด้วยประวัติการสร้าง คณะพระเถระอาจารย์ที่เข้าร่วมพิธีปลุกเสก พร้อมทั้งวัตถุประสงค์การจัดสร้าง และอายุการสร้างแต่โบราณตั้งแต่ปี พศ. 2472 พระเครื่องคันธาระจัดสร้างขึ้นเมื่อ ปี พศ. 2472 เพราะเกิดฝนแห้งแล้งอย่างหนัก ประชาชนอดอยากเป็นอย่างยิ่ง ท่านเจ้าคุณปรารภถึงเหตุนี้แล้วจึงได้จัดทำพิธีหล่อขึ้นหน้าลานพระปฐมเจดีย์ ซึ่งได้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นองค์พระประธาน โดยโลหะที่ใช้หล่อผสมประกอบไปด้วย 1. ชิ้นส่วนพระพุทธรูปสมัยทวารวดี 2. ชิ้นส่วนขันลงหินจากชาวบ้าน 3. แผ่นโลหะจารอักขระยันต์จากพระคณาจารย์ทั่วประเทศในสมัยนั้น 4. แผ่นทองคำจารลงดวงประสูติ ของพระคณาจารย์ที่เข้าร่วมพิธีปลุกเสก อันได้แก่
- หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว
- หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค
- หลวงพ่อโหน่ง วัดคลองมะดัน
- หลวงพ่อแช่ม วัดตาก้อง
- หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก
- หลวงพ่ออิ่ม วัดหัวเขา
- หลวงพ่อยิ้ว วัดก๊ก
- หลวงพ่อเปลี่ยน วัดใต้
- หลวงพ่อสอน วัด ป่าเลไลย์
- หลวงพ่อจันทร์ วัดบ้านยาง
- หลวงพ่อชา วัดสามกระบือเผือก
- หลวงพ่อสุข วัดห้วยจระเข้ - หลวงพ่อน้อย วัดศรีษะทอง
- หลวงพ่อวงศ์ วัดทุ่งผักกูด
- หลวงพ่อมุ้ย วัดจอมทอง
- หลวงพ่อรุ่ง วัดท่ากระบือ
- หลวงพ่อพริ้ง วัดบางปะกอก
- หลวงพ่อบ่าย วัดช่องลม
- หลวงพ่อคง วัดบางกะพ้อม
- พระเทพสุธีหรือพระธรรมวโรดม (โชติ) เป็นต้น
ท่านเจ้าคุณโชติ
เหรียญหล่อ พระคันธราช เนื้อทองผสม กลีบจำปา จังหวัดนครปฐม จัดสร้างเมื่อครั้งปี พศ.2472 จัดสร้างโดยท่านเจ้าคุณโชติ หรือพระเทพสุธีหรือพระธรรมวโรดม (โชติ) อดีตเจ้าอาวาสวัดพระปฐมเจดีย์ ปี 2465 ถึง ปี 2497 พระเครื่องคันธาระ ถือได้ว่าเป็นเพชรน้ำเอกพระเครื่องเมืองนครปฐมอย่างแท้จริง ด้วยประวัติการสร้าง คณะพระเถระอาจารย์ที่เข้าร่วมพิธีปลุกเสก พร้อมทั้งวัตถุประสงค์การจัดสร้าง และอายุการสร้างแต่โบราณตั้งแต่ปี พศ. 2472 พระเครื่องคันธาระจัดสร้างขึ้นเมื่อ ปี พศ. 2472 เพราะเกิดฝนแห้งแล้งอย่างหนัก ประชาชนอดอยากเป็นอย่างยิ่ง ท่านเจ้าคุณปรารภถึงเหตุนี้แล้วจึงได้จัดทำพิธีหล่อขึ้นหน้าลานพระปฐมเจดีย์ ซึ่งได้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นองค์พระประธาน โดยโลหะที่ใช้หล่อผสมประกอบไปด้วย 1. ชิ้นส่วนพระพุทธรูปสมัยทวารวดี 2. ชิ้นส่วนขันลงหินจากชาวบ้าน 3. แผ่นโลหะจารอักขระยันต์จากพระคณาจารย์ทั่วประเทศในสมัยนั้น 4. แผ่นทองคำจารลงดวงประสูติ ของพระคณาจารย์ที่เข้าร่วมพิธีปลุกเสก อันได้แก่
- หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว
- หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค
- หลวงพ่อโหน่ง วัดคลองมะดัน
- หลวงพ่อแช่ม วัดตาก้อง
- หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก
- หลวงพ่ออิ่ม วัดหัวเขา
- หลวงพ่อยิ้ว วัดก๊ก
- หลวงพ่อเปลี่ยน วัดใต้
- หลวงพ่อสอน วัด ป่าเลไลย์
- หลวงพ่อจันทร์ วัดบ้านยาง
- หลวงพ่อชา วัดสามกระบือเผือก
- หลวงพ่อสุข วัดห้วยจระเข้ - หลวงพ่อน้อย วัดศรีษะทอง
- หลวงพ่อวงศ์ วัดทุ่งผักกูด
- หลวงพ่อมุ้ย วัดจอมทอง
- หลวงพ่อรุ่ง วัดท่ากระบือ
- หลวงพ่อพริ้ง วัดบางปะกอก
- หลวงพ่อบ่าย วัดช่องลม
- หลวงพ่อคง วัดบางกะพ้อม
- พระเทพสุธีหรือพระธรรมวโรดม (โชติ) เป็นต้น
พระผงสุพรรณ พิมพ์หน้าแก่ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ สุพรรณบุรี 1
พระผงสุพรรณ พิมพ์หน้าแก่ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ สุพรรณบุรี
พระผงสุพรรณ พิมพ์อื่นๆ
พระผงสุพรรณ พิมพ์อื่นๆ
วันเสาร์ที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2556
พระสมเด็จวัดระฆังฯ พิมพ์ใหญ่ พระประธาน
พระสมเด็จวัดระฆังฯ พิมพ์ใหญ่ พระประธาน
พระสมเด็จวัดระฆังฯ พิมพ์อื่นๆ
พระสมเด็จวัดระฆังฯ พิมพ์อื่นๆ
เหรียญพระเชียงแสน จอมพล ป. พิบูลสงคราม ปี 2494
เหรียญพระเชียงแสน จอมพล ป. พิบูลสงคราม ปี 2494
เหรียญพระเชียงแสน หลังลายเซ็นต์จอมพล ป.พิบูลสงคราม ปี 2494 จัดสร้างโดยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เพื่อเป็นการบูชาและรำลึกถึงพระกฤตยาภินิหารของพระเชียงแสนสิงห์หนึ่งที่ประดิษฐานอยู่บนเรือหลวง"ศรีอยุธยา" ที่ได้ช่วยคุ้มครองท่านจอมพล ป.ที่ถูกควบคุมตัว จากฝ่ายกบฏแมนฮัตตัน ที่โจมตีด้วยเครื่องบินทิ้งระเบิด และอาวุธต่างๆ ให้แคล้วคลาดปลอดภัยและได้ชัยชนะในที่สุด ปลุกเสกโดยท่านเจ้าคุณศรี(สนธิ์) วัดสุทัศน์ และพระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงโด่งดังในยุคนั้นอย่างมากมาย เป็นเหรียญห้าเหลี่ยมเนื้อทองแดง ด้านหน้าเป็นพระพุทธรูปเชียงแสน ด้านหลังเป็นลายเซ็นต์จอมพล ป. พิบูลสงคราม
เหรียญพระเชียงแสน หลังลายเซ็นต์จอมพล ป.พิบูลสงคราม ปี 2494 จัดสร้างโดยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เพื่อเป็นการบูชาและรำลึกถึงพระกฤตยาภินิหารของพระเชียงแสนสิงห์หนึ่งที่ประดิษฐานอยู่บนเรือหลวง"ศรีอยุธยา" ที่ได้ช่วยคุ้มครองท่านจอมพล ป.ที่ถูกควบคุมตัว จากฝ่ายกบฏแมนฮัตตัน ที่โจมตีด้วยเครื่องบินทิ้งระเบิด และอาวุธต่างๆ ให้แคล้วคลาดปลอดภัยและได้ชัยชนะในที่สุด ปลุกเสกโดยท่านเจ้าคุณศรี(สนธิ์) วัดสุทัศน์ และพระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงโด่งดังในยุคนั้นอย่างมากมาย เป็นเหรียญห้าเหลี่ยมเนื้อทองแดง ด้านหน้าเป็นพระพุทธรูปเชียงแสน ด้านหลังเป็นลายเซ็นต์จอมพล ป. พิบูลสงคราม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)