วันจันทร์ที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

พระสมเด็จ วัดระฆัง พิมพ์ใหญ่ พระประธาน 07

พระสมเด็จ วัดระฆัง พิมพ์ใหญ่ พระประธาน 07

 


พระสมเด็จวัดระฆังฯ พิมพ์อื่นๆ






วันอาทิตย์ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

พระปิดตา โบราณ พังพระกาฬ นครศรีธรรมราช องค์ที่ 4

พระปิดตา โบราณ พังพระกาฬ นครศรีธรรมราช องค์ที่ 4

 

พระปิดตา โบราณ ทรงเครื่อง นครศรีธรรมราช องค์ที่ 3

พระปิดตา โบราณ ทรงเครื่อง นครศรีธรรมราช องค์ที่ 3

พระปิดตา โบราณ นครศรีธรรมราช องค์ที่ 2

พระปิดตา โบราณ นครศรีธรรมราช องค์ที่ 2

 

พระปิดตา โบราณ นครศรีธรรมราช ยันต์เฑาะว์ องค์ที่ 1

พระปิดตา โบราณ นครศรีธรรมราช ยันต์เฑาะว์ องค์ที่ 1

 

หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง วัดโบสถ์จัดสร้าง 2507

หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง วัดโบสถ์จัดสร้าง 2507

 

พระเชียงรุ้งทองคำ มรดกล้ำค่าแดนอิสาน ปางอุ้มบาตร กรุพระธาตุพนม องค์ที่ 2

พระเชียงรุ้งทองคำ มรดกล้ำค่าแดนอิสาน ปางอุ้มบาตร กรุพระธาตุพนม องค์ที่ 2


 

พระเชียงรุ้ง พิมพ์อื่นๆ





พระเชียงรุ้งทองคำ มรดกล้ำค่าแดนอิสาน ปางสมาธิ กรุพระธาตุพนม องค์ที่ 1

พระเชียงรุ้งทองคำ มรดกล้ำค่าแดนอิสาน ปางสมาธิ กรุพระธาตุพนม องค์ที่ 1

 


พระเชียงรุ้ง พิมพ์อื่นๆ





พระเชียงรุ้งเนื้อเงินโบราณ องค์ที่ 1

พระเชียงรุ้งเนื้อเงินโบราณ องค์ที่ 1

 


พระเชียงรุ้ง พิมพ์อื่นๆ






ช้างทองคำ รัชกาลที่ 5 จปร.

ช้างทองคำ รัชกาลที่ 5 จปร.

 


เหรียญเงิน รัชกาลที่ 5 รุ่น รัชมังคลาภิเศก ร.ศ. 127

เหรียญเงิน รัชกาลที่ 5 รุ่น รัชมังคลาภิเศก ร.ศ. 127

 

วันอาทิตย์ที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

พระกริ่งนอก เนื้อสำริด องค์ที่ 3 เนื้อเปียกทอง

พระกริ่งนอก เนื้อสำริด องค์ที่ 3 เนื้อเปียกทอง

 

พระกริ่ง องค์อื่นๆ





พระกริ่งนอก เนื้อสำริด องค์ที่ 2

พระกริ่งนอก เนื้อสำริด องค์ที่ 2

 

พระกริ่งนอก เนื้อสัมฤทธิ์ หน้าตักกว้าง 1 1/2 นิ้ว สูง 3 1/4 นิ้ว เฉพาะฐานสูง 1  นิ้ว เฉพาะฐานสูง 1 นิ้ว

พระกริ่ง องค์อื่นๆ





พระกริ่งนอก องค์ที่ 1 เนื้อสำริด

พระกริ่งนอก องค์ที่ 1 เนื้อสำริด

 

พระกริ่ง องค์อื่นๆ






พระวัดรังษี พิมพ์กลีบบัว พระธรรมกิตติ (แจ้ง) ปี 2437

พระวัดรังษี พิมพ์กลีบบัว พระธรรมกิตติ (แจ้ง) ปี 2437

 

“ผู้ใดมีพระวัดรังษี ผู้นั้นชีวีไม่วางวาย”

เดิมบริเวณ วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นที่ตั้งของ 2 วัด ซึ่งอยู่ติดกันคือ วัดบวรนิเวศและวัดรังษี สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมพระยาปวเรศฯ เจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศ ใกล้ชิดสนิมสนมกับท่านเจ้าคุณธรรมกิตติ เจ้าอาวาสวัดรังษีมาก ไปมาหาสู่เพื่อแลกเปลี่ยนและศึกษาหาความรู้กันเป็นประจำ ต่อมาเมื่อท่านเจ้าคุณธรรมกิตติมรณภาพ สมเด็จพระสังฆราช กรมพระยาปวเรศฯจึงรวมวัดรังสีเข้ากับวัดบวรนิเวศ แล้วตั้งชื่อใหม่ว่า “วัดบวรรังษี” ซึ่งต่อมาก็คือ “วัดบวรนิเวศวิหาร”

ถ้ากล่าวถึง “พระวัดรังษี” หลายคนคงรู้จักดี เนื่องจากเป็นพระที่มีชื่อเสียงมากและเป็นที่นิยมสูงในอดีต ดังพระนิพนธ์ของ สมเด็จฯ กรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ได้กล่าวไว้ตอนหนึ่งของการกล่าวถึงของดีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ว่า “ผู้ใดมีพระวัดรังสี ผู้นั้นชีวีไม่วางวาย” ซึ่งนับเป็นคำกล่าวที่ไม่ต้องมีคำบรรยายใดๆ ก็สามารถบ่งบอกถึงคุณค่าของพระวัดรังษีอย่างที่หาพระวัดใดเทียบเท่าได้


"ใครมีพระวัดรังษี ชีวีจะไม่วอด รอดกลับมา"

พระปิดตา เจ้าคุณศรี วัดอ่างศิลา ชลบุรี หลังยันต์กระบองไขว้ ด้านหน้า องค์ที่ 2

พระปิดตา เจ้าคุณศรี วัดอ่างศิลา ชลบุรี หลังยันต์กระบองไขว้ องค์ที่ 2

 

พระปิดตา เจ้าคุณศรี วัดอ่างศิลา ชลบุรี หลังยันต์กระบองไขว้ องค์ที่ 1

พระปิดตา เจ้าคุณศรี วัดอ่างศิลา ชลบุรี หลังยันต์กระบองไขว้ ด้านหน้า องค์ที่ 1